การแลกเปลี่ยนเรียนรู้การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ

มติว่าด้วย การจัดการปัญหาโฆษณาที่ผิดกฎหมายของ ยา อาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพ โดย คณะอนุกรรมการการขับเคลื่อนและติดตามมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์และสาธารณสุข

สถานที่:

ห้องประชุม 3 (BB401 ชั้น4)

วัน/เวลา:

๑๓ ธันวาคม ๒๕๖๑ 10:10 - 12:00 น.

วัตถุประสงค์

การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะในงานสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ             ครั้งที่ ๑๑ พ.ศ. ๒๕๖๑ มติว่าด้วย การป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ (NCDs) ในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันระหว่างภาคีเครือข่ายและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดแนวทางที่ชัดเจนในการขับเคลื่อนร่วมกันในระยะต่อไป

 

วิทยากร

- นายธนากร จงอักษร                             สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

- นายอนุพงษ์ เจริญเวช                           สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค

- นางสาวเขมวดี  ขนาบแก้ว                    สำนักงาน กสทช.

- ภญ.กนกพร  ธัญมณีสิน                        สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น

- ผศ.ภญ.ดร. สุนทรี ท. ชัยสัมฤทธิ์โชค      คณะเภสัชศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

- นายมานะชัย บุญเอก                           นักวิชาการคอมพิวเตอร์ชำนาญการพิเศษ

รักษาการผู้อำนวยการกองป้องกันและปราบปรามการกระทำผิดทางเทคโนโลยีสารสนเทศ

กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม

- ผู้แทนสมาคมผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ตไทย

 

ผู้ดำเนินรายการ:     นายประพจน์  ภู่ทองคำ

 

ช่วงที่ ๑ (๒๕ นาที : วิทยากรแลกเปลี่ยนท่านละ ๕ นาที)

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ การจัดการปัญหาโฆษณาที่ผิดกฎหมายของยา อาหาร

และผลิตภัณฑ์สุขภาพ ทางวิทยุ และโทรทัศน์

 

  • ภาพรวมความก้าวหน้า และความท้าทาย ในการขับเคลื่อนการจัดการปัญหาโฆษณาที่ผิดกฎหมายของยา อาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพ ทางวิทยุ และโทรทัศน์

โดย นายธนากร จงอักษร  สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

 

  • การจัดการวงจรโฆษณาที่ผิดกฎหมายของยา อาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพ ทางวิทยุ และโทรทัศน์

โดย นายอนุพงษ์ เจริญเวช  สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค

 

  • บทบาทของ กสทช. ในการจัดการปัญหาโฆษณาที่ผิดกฎหมายของยา อาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพ ทางวิทยุ และโทรทัศน์

โดย นางสาวเขมวดี  ขนาบแก้ว          สำนักงาน กสทช.

 

  • โมเดลการขับเคลื่อนระดับพื้นที่

โดย ภญ.กนกพร  ธัญมณีสิน  สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น

 

  • บทบาทของภาควิชาการในการหนุนเสริมกระบวนการขับเคลื่อนฯ

โดย ผศ.ภญ.ดร. สุนทรี ท. ชัยสัมฤทธิ์โชค  คณะเภสัชศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

 

 

ช่วงที่ ๒ (๑๐ นาที  วิทยากรแลกเปลี่ยนท่านละ ๒ นาที)

แนวทางในระยะต่อไป เพื่อขับเคลื่อนจัดการปัญหาโฆษณาที่ผิดกฎหมายของยา อาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพ ทางวิทยุ และโทรทัศน์ ให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรมและยั่งยืน

 

ช่วงที่ ๓

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดการปัญหาโฆษณาที่ผิดกฎหมายของยา อาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพ

ทางโซเซียลมีเดีย และอินเทอร์เน็ต (๔๙ นาที : วิทยากรแลกเปลี่ยนท่านละ ๗ นาที)

 

  • ภาพรวมความก้าวหน้า และความท้าทาย ในการขับเคลื่อนการจัดการปัญหาโฆษณาที่ผิดกฎหมายของยา อาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพ ทางโซเซียลมีเดีย และอินเทอร์เน็ต

โดย นายธนากร จงอักษร  สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

 

  • การจัดการวงจรโฆษณาที่ผิดกฎหมายของยา อาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพ ทางโซเซียลมีเดีย และอินเทอร์เน็ต

โดย นายอนุพงษ์ เจริญเวช  สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค

 

  • โมเดลการขับเคลื่อนระดับพื้นที่ ในการจัดการปัญหาโฆษณาที่ผิดกฎหมายของยา อาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพ ทางโซเซียลมีเดีย และอินเทอร์เน็ต

โดย ภญ.กนกพร  ธัญมณีสิน  สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น

 

  • บทบาทของภาครัฐในการหนุนเสริมการขับเคลื่อนการจัดการปัญหาโฆษณาที่ผิดกฎหมายของยาอาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพ ทางโซเซียลมีเดียและอินเทอร์เน็ต

โดย  นายมานะชัย บุญเอก 

       นักวิชาการคอมพิวเตอร์ชำนาญการพิเศษ

                               รักษาการผู้อำนวยการกองป้องกันและปราบปรามการกระทำผิดทาง

       เทคโนโลยีสารสนเทศ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม

 

  • บทบาทของ กสทช. ในการจัดการปัญหาโฆษณาที่ผิดกฎหมายของยา อาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพ ทางโซเซียลมีเดียและอินเทอร์เน็ต

โดย นางสาวเขมวดี  ขนาบแก้ว   สำนักงาน กสทช.

 

  • มุมมองและบทบาทของผู้ประกอบการ  ในการจัดการปัญหาโฆษณาที่ผิดกฎหมายของยา อาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพ ทางโซเซียลมีเดียและอินเทอร์เน็ต

โดย  ผุ้แทนสมาคมผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ตไทย

 

  • การหนุนเสริมทางวิชาการ เพื่อจัดการปัญหาโฆษณาที่ผิดกฎหมายของยา อาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพ ทางโซเซียลมีเดียและอินเทอร์เน็ต

โดย ผศ.ภญ.ดร. สุนทรี ท. ชัยสัมฤทธิ์โชค   คณะเภสัชศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

 

ช่วงที่ ๔

(๒๑ นาที  วิทยากรแลกเปลี่ยนท่านละ ๓ นาที)

แนวทางในระยะต่อไป เพื่อขับเคลื่อนจัดการปัญหาโฆษณาที่ผิดกฎหมายของยา อาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพ ทางโซเซียลมีเดียและอินเทอร์เน็ต ให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรมและยั่งยืน

 

ช่วงที่ ๕

แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะนโยบาย และตอบข้อซักถาม  (๒๐ นาที)